การแข่งขันทักษะทางวิชาการจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำในทุกปี มีทั้งระดับประเทศ ระดับโซน และระดับภาค ในปีนี้การแข่งขันทักษะวิชาการภาษาอังกฤษระดับภาคกลางได้จัดขึ้นที่จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดใกล้เคียงในโซนภาคกลาง วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2562 มีการประกวดและแข่งขันที่หลากหลายหัวข้อซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษาอังกฤษ โดยวัตถุประสงค์ในการจัดการแข่งขันทักษะวิชาการภาษาอังกฤษ ดังนี้ 1. เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษอย่างรอบด้าน ทั้งฟัง พูด อ่าน เขียน โดยมุ่งให้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาอังกฤษให้กับเยาวชน อันจะเป็นประโยชน์ในการปรับตัว เปิดโลกทัศน์ให้เยาวชน และ กระตุ้นให้เกิดความต้องการที่จะพัฒนาตนเอง 3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเยาวชนต่างสถาบัน อันจะเป็นเครือข่ายที่ดีของตัวเยาวชนเองที่จะสามารถช่วยเหลือเกื้อกูลต่อยอดกันและกันได้ต่อไปในอนาคต 4. เพื่อกระตุ้นและสร้างการตระหนักรู้ให้กับสังคมไทยโดยรวม ให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นของการมีทักษะการสื่อสารที่ดีในภาษาอังกฤษ เพื่อให้เกิดการพัฒนาในทุกภาคส่วน อันจะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจและสังคมให้กับประเทศต่อไป หัวข้อในการแข่งขันทักษะทางภาษาอังกฤษ 1.การแข่งขันพูดสุนทรพจน์ระดับประถมศึกษา (Speech Contest 2019) ระดับชั้นละ 1 คน - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ป.1-3 หัวข้อ How to be healthy? - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ป.4-6 หัวข้อ Is it necessary to learn other languages? ขั้นตอนในการแข่งขัน
5). พูดในระยะเวลาที่กำหนด 5 คะแนน 2.การแข่งขันพูดสุนทรพจน์ระดับมัธยมศึกษา (Speech Contest 2019) ระดับชั้นละ 1 คน - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ม.1-3 หัวข้อ Right Actions with Public Mind Contribute to Achievement in Life - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ม.4-6 หัวข้อ What is the most challenging in your life? How do the right goals, right mind, and right actions help you overcome it? ขั้นตอนในการแข่งขัน 1) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย แบ่งการแข่งขันออกเป็น 2 รอบคือรอบคัดเลือก และรอบชิงชนะเลิศ 2) ในรอบคัดเลือกเป็นการแข่งขันพูดต่อหน้าสาธารณชน (Public Speaking) จากประเด็นเกี่ยวกับ หัวข้อ “Set the Right Goals with the Right Mind, and Right Actions for an Excellence” และตอบคำถาม 1 คำถาม จากกรรมการ โดยจะมีผู้ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศทั้งหมด 20% ของผู้เข้าแข่งขัน 3) รอบชิงชนะเลิศแข่งขันแบบ Impromptu Speech โดยผู้เข้าแข่งขันจับฉลากจากหัวข้อที่กรรมการ กำหนด จำนวน 2 เรื่องและเลือกพูด 1 เรื่อง เวลาในการเตรียมตัว 5 นาที ผู้เข้าแข่งขันสามารถดูบันทึก ช่วยจำได้เป็นครั้งคราวแต่ห้ามถืออ่าน และไม่อนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ใด ๆ ในการแข่งขัน เกณฑ์การแข่งขันและเวลา
5). พูดในระยะเวลาที่กำหนด 5 คะแนน 4. เกณฑ์การให้คะแนนการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ Impromptu Speech (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 1). เนื้อหา 35 คะแนน
3. การแข่งขันสะกดคำภาษาอังกฤษ (Spelling Bees Contest 2019) - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขันทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ระดับชั้นละ 2 คน รูปแบบการแข่งขัน รอบที่ 1 กรรมการอ่านออกเสียงคำศัพท์ คำละ 2 ครั้งและพูดประโยคตัวอย่างการใช้คำศัพท์นั้นๆ 2 ครั้ง (เพื่อช่วยให้เข้าใจคำศัพท์) 1). ผู้แข่งขันเขียนสะกดคำศัพท์ 20 คำ (คำละ 5 คะแนน) รวมเป็น 100 คะแนน 2). ผู้แข่งขันได้คะแนนตั้งแต่ 50 คะแนนขึ้นไปจะมีสิทธิ์เข้าแข่งขันในรอบที่ 2 **หมายเหตุ** คะแนนในรอบที่ 1 ไม่นำมานับรวมในรอบที่ 2 รอบที่ 2 ผู้แข่งขันที่ผ่านเข้าสู่รอบที่ 2 จับฉลากเรียงลำดับการแข่งขัน 1). แข่งขันทีละคนตามลำดับที่จับฉลากได้ 2). กรรมการเตรียมชุดคำศัพท์ แยกตามจำนวนพยางค์ในการออกเสียง สุ่มหยิบคำ 1 พยางค์ 2 พยางค์ 3 พยางค์ 4 พยางค์ และ 5 พยางค์ อย่างละ 3 คำ 5 คำ 6 คำ 4 คำ และ 2 คำ ตามลำดับพยางค์ เพื่อจัดชุดคำศัพท์ จำนวน 5 ชุด 3). กรรมการเตรียมชุดคำศัพท์จำนวน 5 ชุด (ชุดละ 20 คำ) โดยให้ตัวแทนผู้เข้าแข่งขันจับฉลากชุดคำศัพท์โดยผู้ เข้าแข่งขันใช้คำศัพท์ชุดเดียวกันทั้งหมด 4). กรรมการเรียกผู้เข้าแข่งขันเข้าแข่งขันทีละคน โดยกรรมการอ่านคำศัพท์ในแต่ละคำต้องเป็นคนเดียวกันใน 1 ชุดคำศัพท์สามารถมีกรรมการอ่านคำศัพท์ได้หลายท่าน (ในกรณีที่มีคำพ้องเสียงแต่ตัวสะกดต่างกัน กรรมการ บอกความหมายของศัพท์) และเริ่มอ่านคำศัพท์ตั้งแต่กลุ่ม 1, 2, 3, 4 และ 5 พยางค์ ตามลำดับ 5). ผู้แข่งขันสะกดคำ 20 คำ ภายใน 5 นาที สะกดคำศัพท์ถูกต้อง ได้คำละ 5 คะแนน (ในกรณีที่ผู้แข่งขันสะกด คำใดไม่ได้สามารถบอก ‘ผ่าน’ เพื่อสะกดคำต่อไปได้ ในกรณีที่เวลายังไม่หมดสามารถย้อนกลับมาสะกดคำ เดิมได้) แต่หากสะกดผิดการแข่งขันจะจบทันที 6). กรรมการนำคะแนนที่ผู้แข่งขันได้มาตัดสินตามเกณฑ์ **หมายเหตุ ** 1. นักเรียนที่แข่งขันเสร็จแล้วให้รออยู่ในห้องที่ทำการแข่งขันจนการแข่งขันสิ้นสุดครบทุกคน 2. ในกรณีที่นักเรียนได้คะแนนสูงสุดเท่ากันมากกว่า 2 คนในระดับโซน ให้โซนทำการแข่งขัน นักเรียนที่ได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน ในรอบที่ 3 โดยใช้วิธีการแข่งขันเหมือนรอบที่ 2 เพื่อให้ได้ ตัวแทนแข่งในระดับภาคจ านวน 2 คน ในรอบนี้ไม่น าคะแนนมาพิจารณา ขอบข่ายคำศัพท์ คำศัพท์ที่ใช้ในการแข่งขันคือฉบับปรับปรุงในปี 2561 4. การแข่งขันร้องเพลง (Singing Contest 2019) - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขันทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ระดับชั้นละ 1 คน - เพลงที่ใช้ในการแข่งขัน เพลงสากล (ภาษาอังกฤษ) รูปแบบการแข่งขัน 1).นักเรียนเตรียมแผ่น Audio CD ที่เป็นทำนองมาเอง โดยเพลงที่ใช้มานำประกอบไม่อนุญาตให้มีเสียง คอรัส (chorus) หากมี chorus จะถูกตัดคะแนน น้ำเสียง 5 คะแนน 2). ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าแข่งขันคนเดิมใช้เพลงเดิมในการแข่งขัน 3). ส่งเนื้อเพลง 5 ชุดให้กรรมการ 4). แต่งเครื่องแบบนักเรียนเท่านั้น เนื่องจากไม่มีคะแนนสำหรับการแต่งกาย เกณฑ์การให้คะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)
3. ความสามารถในการแสดงบนเวที 20 คะแนน (บุคลิก ลีลา อารมณ์ การทำให้ผู้ชมสนุกสนาน) 5. การแข่งขันเล่านิทาน (Story Telling Contest 2019) - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขันทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ระดับชั้นละ 1 คน - หัวข้อที่ใช้ในการแข่งขัน คือ นิทานพื้นบ้านของไทย หรือของต่างประเทศ หรือนิทานอีสป - เรื่องที่แข่งขัน นิทานพื้นบ้านของไทย หรือของต่างประเทศ หรือนิทานอีสป หลักเกณฑ์การการแข่งขัน
1). เนื้อเรื่อง (Content) 35 คะแนน
6. การแข่งขันละครสั้น (Skit Competition 2019) - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ป.4-6, ม.1-3 และ ม.4-6 ระดับชั้นละ 1 ทีม ทีมละ 3-5 คน - หัวข้อการแสดง Right Goals, Right Mind, Right Actions วิธีดำเนินการแข่งขันและหลักเกณฑ์การแข่งขัน
7. การแข่งขันโครงงานคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (Mathematics / Science Project Work 2019) - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ป.4-6, ม.1-3 และ ม.4-6 ประเภททีม ทีมละ 3 คน เป็นโครงงาน คณิตศาสตร์หรือ วิทยาศาสตร์ ประเภทละ 1 โครงงาน เกณฑ์การให้คะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) 1. โครงงาน 40 คะแนน
2. ผู้เข้าแข่งขันเตรียมรายงานเป็นรูปเล่มจำนวน 3 เล่ม นำมาพร้อมกับโครงงานในวันแข่งขัน 3. การจัดแสดงโครงงาน (เตรียมป้ายชื่อโรงเรียนมาด้วย) 15 คะแนน
8. การแข่งขัน ( Multi Skills Competition 2019 ) - ระดับชั้นผู้เข้าแข่งขัน ระดับ ป.4-6, ม.1-3 และ ม.4-6 ระดับชั้นละ 1 คน - ทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ 3 ทักษะ คือ ทักษะการฟัง (Listening skill) , ทักษะการอ่าน (Reading skill) และทักษะการเขียน(Writing skill) รายละเอียดและเกณฑ์การแข่งขัน 1. ทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ 3 ทักษะ เวลา 1 ชั่วโมง 10 นาที
การเขียนเรียงความตามหัวข้อที่กำหนดไว้ใน Theme: Right Goals, Right Mind, Right Actions โดยกำหนดคำ ดังนี้ - ป.4 – ป.6 ไม่ต่ำกว่า 100 คำ - ม.1 – ม.3 ไม่ต่ำกว่า 150 คำ - ม.4 – ม.6 ไม่ต่ำกว่า 200 คำ 2. ทดสอบความสามารถด้านทักษะการพูด โดยการสัมภาษณ์เพื่อวัด
- ป.4-6 ตอบคำถามใช้เวลา 2-3 นาที - ม.1-3 ตอบคำถามใช้เวลา 5 นาที - ม.4-6 ตอบคำถามใช้เวลา 7 นาที 3. ทดสอบความสามารถด้านการฟังและการถ่ายโอนความรู้ โดยการทดสอบ Picture Dictation เจ้าของภาษาเป็นผู้อ่านบททดสอบจ านวน 2 ครั้ง ผู้เข้าแข่งขันสามารถจดบันทึกข้อมูลได้ในขณะฟัง จากนั้นผู้เข้าแข่งขันวาดภาพจากบทอ่านที่ฟัง 1 ภาพ ภายในเวลา 30 นาที คณะกรรมการ
1. ทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ (English Proficiency Test) 60 คะแนน
การพิจารณาตัดสินให้เหรียญรางวัล ดังนี้
1. เหรียญทอง คะแนน 80 – 10 2. เหรียญเงิน คะแนน 70 – 79 3. เหรียญทองแดง คะแนน 60 – 69 สำหรับผู้ชนะในการแข่งขันแต่ละประเภททางอีดูเคชั่น เซนเตอร์ อ่างทอง จะรายงานผลการแข่งขันในวันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคมนี้ *หมายเหตุ : หากสถานที่และกำหนดการมีการเปลี่ยนแปลงอาจขึ้นอยู่กับดุลพินิจของคณะกรรมการในการตัดสิน
0 Comments
Leave a Reply. |
|